ส่วนที่  2

สภาพทั่วไป  ข้อมูลพื้นฐานสำคัญของท้องถิ่น

 

2.1  สภาพทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

 1.   ประวัติความเป็นมาขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

ปี  พ.ศ. 2474  หมู่บ้านภายในตำบลดอนเงินขึ้นอยู่กับตำบลหนองซอน  อำเภอกันทรวิชัย  จังหวัดมหาสารคาม  ต่อมาได้แยกออกมาจากตำบลหนองซอน  จำนวน  8  หมู่บ้าน  และแยกออกมาจากตำบล       เหล่าดอกไม้  อำเภอเชียงยืน  มาตั้งเป็นตำบลดอนเงิน ในปี พ.ศ.2515  มีจำนวนหมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน  ปัจจุบันตำบลดอนเงินมีหมู่บ้าน  จำนวน  15  หมู่บ้าน

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  อำเภอเชียงยืน  จังหวัดมหาสารคาม  เดิมมีฐานะเป็น  สภาตำบลดอนเงิน  และได้รับการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย  เมื่อวันที่  11  กุมภาพันธ์  2540 

 2.   ที่ตั้ง 

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  ตั้งอยู่หมู่ที่  5  ตำบลดอนเงิน  อำเภอเชียงยืน  จังหวัดมหาสารคาม  อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอเชียงยืน  ห่างจากที่ทำการอำเภอเชียงยืน  10  กิโลเมตร  ห่างจากจังหวัดมหาสารคาม  40  กิโลเมตร  มีพื้นที่ทั้งสิ้น  36  ตารางกิโลเมตร หรือ  22,500  ไร่

 3.   อาณาเขต

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน   อำเภอเชียงยืน   จังหวัดมหาสารคาม   มีอาณาเขตติดต่อดังนี้

 ทิศตะวันออก       มีอาณาเขตติดกับตำบลหัวนาคำ                       อำเภอยางตลาด   จังหวัดกาฬสินธุ์ 

ทิศตะวันตก         มีอาณาเขตติดกับตำบลเชียงยืน                       อำเภอเชียงยืน     จังหวัดมหาสารคาม 

ทิศเหนือ               มีอาณาเขตติดกับตำบลเหล่าดอกไม้                อำเภอชื่นชม       จังหวัดมหาสารคาม 

ทิศใต้                     มีอาณาเขตติดกับตำบลโพนทอง                     อำเภอเชียงยืน     จังหวัดมหาสารคาม

 

 

4.   แผนที่แสดงอาณาเขตขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

 

 

 

 

  

 ปกครอง  

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  มีหมู่บ้านที่อยู่ในตำบลดอนเงิน  อำเภอเชียงยืน 

จังหวัดมหาสารคาม  ซึ่งแบ่งเขตการปกครองออกเป็น  15  หมู่บ้าน  ดังนี้

 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

เนื้อที่(ไร่)

ระยะทางห่าง

จาก อบต. (ก.ม.)

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

1

บ้านผำ

2,110

1.5

นางเทียมใจ        ชมภูราช

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.1

2

บ้านหัวหนอง

1,095

0.8

นายวรรณชัย      จันทะเข้

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.2

3

บ้านหนองแวง

1,068

0.8

นางสาวเพชรา   ลิ้มประสูตร

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.3

4

บ้านโนนสำราญ

1,060

2

นาวันธนา  รัตนทิพย์

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.4

5

บ้านดอนเงิน

1,060

0.5

นายสมนึก          ใคร่วิชัย

 

กำนัน ต.ดอนเงิน 

6

บ้านแฝก

645

2

นายสำราญ         พันเทศ

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.6

7

บ้านสะอาด

824

1.5

นายสมจิต           ภูสมพงษ์     

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.7

8

บ้านค้อ

1,508

4

นายประยงค์       รัตนทิพย์

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.8

9

บ้านหนองไม้ต้าย

685

6

นายนรินทร์        เหล่าบุรี

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.9

10

บ้านโนนสูงน้อย

872

4

นางสาวพิกุล      ชมเสียง

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.10

11

บ้านโนนศรีชัยสว่าง

850

3

นายไสว              สวนเส

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.11

12

บ้านแฝก

2,110

2

นายสมเพศ         โพธิยา

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.12

13

บ้านโนนดินแดง

297

3

นายมัตติชัย        แสนเมือง

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.13

14

บ้านผำสามัคคี

2,023

1.5

นายเชาวริต         มหาชัย

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.14

15

บ้านโนนสว่าง

963

2

นายชาญชัย        แสนวัง

 

ผู้ใหญ่บ้าน ม.15

 

 ประชากร

ตำบลดอนเงิน  มีประชากรทั้งหมด  7,133  คน  มีความหนาแน่นเฉลี่ย  198  คน/ตร.กม.

 

หมู่ที่

บ้าน

ครัวเรือน

จำนวนประชากร

รวม(คน)

ชาย

หญิง

1

บ้านผำ

228

434

428

862

2

บ้านหัวหนอง

125

252

247

499

3

บ้านหนองแวง

152

273

273

546

4

บ้านโนนสำราญ

88

174

190

364

5

บ้านดอนเงิน

74

155

152

307

6

บ้านแฝก

114

186

214

400

7

บ้านสะอาด

124

223

235

458

8

บ้านค้อ

158

323

307

630

9

บ้านหนองไม้ต้าย

112

209

201

410

10

บ้านโนนสูงน้อย

93

174

187

361

11

บ้านโนนศรีชัยสว่าง

62

114

119

233

12

บ้านแฝก

177

296

350

646

13

บ้านโนนดินแดง

37

75

65

140

14

บ้านผำสามัคคี

228

440

458

898

15

บ้านโนนสว่าง

99

187

191

378

รวม

1,871

3,515

3,617

7,132

 

** ที่มา : ข้อมูล  สำนักบริหารการทะเบียน  กรมการปกครอง  ณ  วันที่  29 พฤษภาคม  พ.ศ. 2557

         7.   การศึกษา 

จำนวนสถานศึกษาที่อยู่ในพื้นที่ตำบลดอนเงิน  มีทั้งหมด  6  แห่ง  แยกได้ดังนี้

ระดับมัธยมศึกษา    1  แห่ง  ได้แก่ โรงเรียนดอนเงินพิทยาคาร  เปิดสอนระดับ  ม.1 - 6

                ระดับมัธยมศึกษาและประถมศึกษา   1  แห่ง  ได้แก่  โรงเรียนบ้านแฝกโนนสำราญ  ตั้งอยู่

บ้านแฝก  หมู่ที่ 6  ซึ่งเป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสอนระดับประถมศึกษา  ถึง ม.3

                ระดับประถมศึกษา   4  แห่ง  ได้แก่

                        1. โรงเรียนบ้านค้อ                            ตั้งอยู่บ้านค้อ                        หมู่ที่  8   

2. โรงเรียนบ้านสะอาดดอนเงิน             ตั้งอยู่บ้านดอนเงิน                  หมู่ที่  5    

3. โรงเรียนจินดาอารมณ์                     ตั้งอยู่บ้านหนองแวง                 หมู่ที่    

4. โรงเรียนบ้านผำ                            ตั้งอยู่บ้านผำสามัคคี               หมู่ที่  14 

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก   มี  1  แห่ง  คือ  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนสำราญ

ตั้งอยู่หมู่ที่  บ้านโนนสำราญ 

8.   สาธารณสุข  มีสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลดอนเงิน  จำนวน  2  แห่ง  ดังนี้

                1.  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล  บ้านแฝก              ตั้งอยู่บ้านแฝก             หมู่ที่  6  

               2.  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล  บ้านหนองแวง         ตั้งอยู่บ้านหนองแวง       หมู่ที่  3   

       9.   ศาสนา    

ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีบางส่วนที่นับถือศาสนาอื่นๆ ความเชื่อถือประเพณี ในสมัยก่อนยังคงมีอยู่  และมีอิทธิพลทางจิตใจของประชาชนในพื้นที่  มีวัดในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  จำนวน  12  แห่ง  และสำนักสงฆ์  1  แห่ง  ดังนี้

    - วัดพรหมพิชัย                  หมู่ที่  1,14         - วัดบ้านหัวหนอง                หมู่ที่  2

                - วัดจินดาอารมณ์               หมู่ที่  3              - วัดสว่างอารมณ์                หมู่ที่  4,15

                - วัดบ้านดอนเงิน               หมู่ที่  5              - วัดวิเศษสมบูรณ์               หมู่ที่  6,12

                - วัดสะอาดเจริญศิลป์          หมู่ที่  7              - วัดวิไลธรรมมาราม             หมู่ที่  8

                - วัดทุ่งสว่าง                     หมู่ที่  9              - วัดราษฎร์สังคม                หมู่ที่  10

                - วัดบ้านโนนศรีชัยสว่าง หมู่ที่  11,13              - วัดป่าหนองชาด               หมู่ที่  2

- สำนักสงฆ์                         1              แห่ง

- มัสยิด                               -              แห่ง

- ศาลเจ้า                             -              แห่ง

- โบสถ์คริสต์                        -              แห่ง       

              10.   วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

                ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สำคัญ  ดังนี้

                1) ประเพณีสงกรานต์  เดือนเมษายน ของทุกปี

                2) ประเพณีบุญบั้งไฟ ประมาณเดือนพฤษภาคม ของทุกปี

                3) งานบุญเดือนหก  ประมาณเดือนพฤษภาคม ของทุกปี

                4) การทอเสื่อกกของกลุ่มแม่บ้าน

              11.   การสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน ได้ส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้สูงอายุและ

ผู้ด้อยโอกาส  ดังนี้

  ผู้สูงอายุ              จำนวน  938  คน                 ได้รับเบี้ยยังชีพ   จากรัฐบาล

  ผู้พิการ                จำนวน  160  คน                 ได้รับเบี้ยยังชีพ   จากรัฐบาล

  ผู้ติดเชื้อเอดส์     จำนวน    15  คน                  ได้รับเบี้ยยังชีพ   จากรัฐบาล

       12.   ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนสังกัดศูนย์ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตำบลดอนเงิน   จำนวน  80

 13.   ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

1. ป่าไม้

พื้นที่ตำบลดอนเงิน  มีสถานที่ธรรมชาติเหมาะสมสำหรับจัดทำเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์  ได้แก่  ป่าโคกไร่  ใช้ปลูกป่าและเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติ

2. แหล่งน้ำ

พื้นที่ตำบลดอนเงิน  มีแหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นสามารถใช้การได้  ดังนี้

- หนองน้ำ  จำนวน  16  แห่ง  มีดังนี้

หนองผำ           หนองทุ่ม              หนองโสกโน         หนองหนามแท่ง

หนองแวง          หนองชาด             หนองโดน            หนองไหเงินหรือบัวเงิน

หนองพนอม       หนองกุง               หนองใหม่             หนองบ้านฮ้าง

หนองส้มโฮง      หนองไม้ต้าย          หนองป่าจั่น           หนองบ่อน้อย                                     

- ลำห้วย  จำนวน  5  สาย  มีดังนี้  

ลำห้วยพนอม  ล้ำห้วยหินลาด  ลำห้วยวังแสง  ลำห้วยกุดแสง  ลำห้วยลำพันชาด   

              14.   ด้านการเกษตร

                1. การเกษตร

                ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  จำนวน  1,290  ครัวเรือน  อัตราค่าแรงงานในหมู่บ้าน 150 บาท  ประชากรมีรายได้เฉลี่ย 33,307  บาท/คน/ปี  มีรายได้หลักจากการทำนา  ทำสวน  ปลูกพืชไร่  เป็นต้น

-  การทำนา  ได้แก่  การปลูกข้าว  ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลัก  ซึ่งปลูกไว้รับประทานและขายเป็นส่วนใหญ่

-  การปลูกพืชไร่  ได้แก่  อ้อย  มันสำปะหลัง  เป็นการปลูกเพื่อขาย

-  การปลูกพืชสวน  ได้แก่  พริก  ถั่วฝักยาว  มะเขือ  อื่นๆ  ซึ่งปลูกไว้รับประทานในครัวเรือนและขายเป็นบางส่วน  

-  การปลูกไม้ยืนต้น  ไม้ผล  และสวนป่า  ได้แก่  มะม่วง  มะขาม  กล้วย  มะพร้าว  ยางพารา  เป็นการปลูกไว้รับประทานในครัวเรือนและขายเป็นบางส่วน 

2. การปศุสัตว์

ได้แก่  การเลี้ยงหมู  โคเนื้อ  ควาย  ไก่  เป็ด  ปลา  เป็นต้น

3. รายได้นอกภาคการเกษตร

นอกจากจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ประชาชนบางส่วนได้มีการสร้างอาชีพนอกภาคการเกษตร  ได้แก่  การค้าขาย  การรับจ้าง  เพื่อเพิ่มพูนรายได้ให้แก่ครอบครัว

15.   การพาณิชยกรรมและการบริการ

ประเภทและจำนวนสถานประกอบการด้านการพาณิชยกรรมและการบริการ

1) สถานประกอบการด้านพาณิชยกรรม

                ก. สถานีบริการน้ำมัน                    3               แห่ง

                ข. ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า        -                 แห่ง

                ค. ตลาดสด                              -                 แห่ง

                ง. ร้านค้าทั่วไป                           80               แห่ง

2) สถานประกอบการด้านบริการ

                ก. ธนาคาร                                  -                แห่ง

                ข. ร้านเสริมสวย                           1                 แห่ง

                ค. ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า                      -                 แห่ง

                ง. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์              4                  แห่ง

                จ. ร้านขายอาหาร                         9                 แห่ง

3) โรงงานอุตสาหกรรม                                    -                 แห่ง

4) โรงสีข้าวขนาดเล็ก                                    23                แห่ง

 

        16.   ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

                1. การคมนาคม (แสดงจำนวนและสภาพทางถนน)

ประเภทถนน

ที่ตั้ง

(หมู่ที่)

จำนวน(สาย)

ระยะทาง (เมตร)

สภาพการใช้งาน

หมายเหตุ

1. ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก

1

7

1,600

ใช้งานได้

 

2

4

710

ใช้งานได้

 

3

4

715

ใช้งานได้

 

4

4

600

ใช้งานได้

 

5

6

1,180

ใช้งานได้

 

6

8

865

ใช้งานได้

 

7

5

500

ใช้งานได้

 

8

9

1,000

ใช้งานได้

 

9

4

400

ใช้งานได้

 

10

3

850

ใช้งานได้

 

11

5

980

ใช้งานได้

 

12

11

1,005

ใช้งานได้

 

13

3

400

ใช้งานได้

 

14

7

1,460

ใช้งานได้

 

15

3

750

ใช้งานได้

 

 

 

ประเภทถนน

ที่ตั้ง

(หมู่ที่)

จำนวน(สาย)

ระยะทาง (เมตร)

สภาพการใช้งาน

หมายเหตุ

2. ถนนลาดยาง

9

1

5,200

ใช้งานได้

 

3. ถนนลูกรัง

1

3

3,700

ใช้งานได้

 

2

3

4,100

ใช้งานได้

 

3

3

9,000

ใช้งานได้

 

4

1

2,000

ใช้งานได้

 

5

3

4,500

ใช้งานได้

 

6

1

1,500

ใช้งานได้

 

7

1

1,000

ใช้งานได้

 

8

3

5,300

ใช้งานได้

 

9

3

5,200

ใช้งานได้

 

10

-

-

ใช้งานได้

 

11

4

6,400

ใช้งานได้

 

12

3

5,200

ใช้งานได้

 

13

2

3,000

ใช้งานได้

 

14

1

2,000

ใช้งานได้

 

15

2

3,500

ใช้งานได้

 

 

2.  การไฟฟ้า        ประชาชนในเขตตำบลดอนเงิน       จำนวน 1,854  ครัวเรือน  มีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน

 3.  การประปา      ประชาชนในเขตตำบลดอนเงิน      จำนวน 1,854  ครัวเรือน  ใช้น้ำจากการประปาของแต่ละหมู่บ้าน

 

2.2  ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น

 

โครงสร้างและกระบวนการบริหารงานบุคคลองค์การบริหารส่วนตำบล

2.2.1  ด้านโครงสร้าง

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  ได้รับการยกฐานะจากสภาตำบล  เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลเมื่อวันที่  11  กุมภาพันธ์ 2540  เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง  มีโครงสร้างขององค์กรและการแบ่งส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตำบล  ประกอบด้วย  คณะผู้บริหารจำนวน  4  คน  สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มาจาก  15  หมู่บ้าน  จำนวนทั้งหมด  30  คน  ซึ่งเลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล  ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552  ข้าราชการ  15  คน  ลูกจ้างประจำ  1  คน  ลูกจ้างตามภารกิจ  20  คน  และพนักงานจ้างทั่วไป  7  คน 

สภาองค์การบริหารส่วนตำบล  มีอำนาจหน้าที่  ดังนี้

1. ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบล

2. พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล  ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี  และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม

                3. ควบคุมการปฏิบัติงานของนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ให้เป็นไปตามกฎหมาย  นโยบาย  แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล  ข้อบัญญัติ  ระเบียบ  และข้อบังคับของทางราชการ

นายกองค์การบริหารส่วนตำบล  มีอำนาจหน้าที่  ดังนี้

1. กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย  และรับผิดชอบในการบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนตำบลให้เป็นไปตามกฎหมาย  นโยบาย  แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล ข้อบัญญัติ  ระเบียบ  และข้อบังคับของทางราชการ

2. สั่ง  อนุญาต  และอนุมัติเกี่ยวกับราชการขององค์การบริหารส่วนตำบล

                3. แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

                4. วางระเบียบเพื่อให้งานขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

                5. รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล

                6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ข้อบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงินมีปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างองค์การบริหารส่วนตำบล  รองจากนายกองค์การบริหารส่วนตำบลและรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจำขององค์การบริหารส่วนตำบล  ให้เป็นไปตามนโยบายและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายกำหนดหรือตามที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลมอบหมาย

 

การเมือง  -  การบริหาร

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่  20

ตุลาคม  2556  มีคณะผู้บริหารและสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล  ดังนี้

ตารางแสดงรายชื่อคณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

 

ลำดับที่

ชื่อ  -  สกุล

ตำแหน่ง

1

นายประเสริฐ              ชูพันธ์

นายก อบต.

2

นายประมูล               นิตยาสิทธิ์

รองนายก อบต. คนที่  1

3

นายประสพโชค           ไชยศรี

รองนายก อบต. คนที่  2

4

นายดำเนิน                ดีเจริญ

เลขานุการนายก อบต.

 

ตารางแสดงรายชื่อสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

 

ลำดับที่

ชื่อ  -  สกุล

ตำแหน่ง

1

นายทองพูน      ภูนาเหลา

 

ประธานสภา อบต. หมู่ที่ 9

2

นางนพดารา      โยธาธรณ์

 

รองประธานสภา อบต. หมู่ที่ 12

3

ร้อยตรีวิชวน     ชมภูราช

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 1

4

นายสุปัน           พันสุไฟ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 1

5

นายสมควร        นิตยาสิทธิ์

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 2

6

นายวิจิตร            อุทัยเลี้ยง

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 2

7

นายสมศักดิ์        สุวรรณปะกา

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 3

8

นายสินสมุทร    แซะนาม

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 3

9

นายทองม้วน     ทวิลา

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 4

10

นายบัญชา          เปรมปรี

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 4

11

นางธมณวรรณ์  ไชยสุข

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 5

12

นายสุขสันต์       พันเทศ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 5

13

นายนิคม             แสนคำ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 6

14

นางนิภาวรรณ   พันเทศ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 6

15

นายอุดม              ริโยธา

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 7

16

นายสมบูรณ์       ภูทองเงิน

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 7

17

นายสุพัด             โพธิ์ใต้

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 8

18

นายดำรงค์          เนื่องพนอม

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 8

19

นายวิรัตน์           ทองโสม

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 9

 

 

ลำดับที่

ชื่อ  -  สกุล

ตำแหน่ง

20

นายไพบูลย์        พิลุน

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 10

21

นายวิเชฏฐ์          โคทนา

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 10

22

นายสมัคร           แก้วอุดม

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 11

23

นายสันดร           แก้วอุดม

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 11

24

นางสาวสุบิน     พันธุ์เทศ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 12

25

นายประยงค์       ไชยคำ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 13

26

นางทิพย์วรรณ   แก้วอุดม

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 13

27

นางวธิดา            กุภาพันธ์

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 14

28

นายเสงี่ยม           พันเทศ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 14

29

นายทองสูนย์     โคทนา

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 15

30

นายบุญเพ็ง          พันเทศ

 

สมาชิกสภา อบต. หมู่ที่ 15

 

โครงสร้างองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน แสดงได้  ดังนี้

 

 
 

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

 

 

 

 

 

   

       
   
 
 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                อำนาจหน้าที่ของสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล  ได้แก่

                ทำหน้าที่เกี่ยวกับงานบริหารงานทั่วไป  งานสารบรรณ  งานบริหารงานบุคคล  งานเลือกตั้งและทะเบียนข้อมูล  งานควบคุมภายใน  งานนโยบายและแผน  งานวิชาการ  งานข้อมูลและประชาสัมพันธ์ งานงบประมาณ  งานกฎหมายและคดี  งานร้องเรียนร้องทุกข์และอุทธรณ์  งานข้อบัญญัติและระเบียบ  งานจดทะเบียนพาณิชย์  และงานอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

                อำนาจหน้าที่ของกองคลัง  ได้แก่

                ทำหน้าที่เกี่ยวกับงานการเงิน  งานรับเงินเบิกจ่ายเงิน  งานจัดทำฎีกาจ่ายเงิน  งานเก็บรักษาเงิน  งานการบัญชี  งานทะเบียนควบคุมเบิกจ่าย  การจัดทำงบการเงินและงบทดลอง  งบแสดงฐานะการเงิน งานภาษีอากร  ค่าธรรมเนียมและค่าเช่า  งานพัฒนารายได้  งานควบคุมกิจการค้าและค่าปรับ  งานทะเบียนควบคุมและเร่งรัดรายได้  งานทะเบียนทรัพย์สินและแผนที่ภาษี  งานพัสดุ  งานทะเบียนเบิกจ่ายวัสดุครุภัณฑ์ และงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

                อำนาจหน้าที่ของกองช่าง  ได้แก่

                ทำหน้าที่เกี่ยวกับงานก่อสร้างและบูรณะซ่อมแซมถนน  งานก่อสร้างสะพาน  งานข้อมูลก่อสร้าง  งานออกแบบและควบคุมอาคาร  งานประเมินราคา  งานควบคุมการก่อสร้างอาคาร  งานออกแบบและบริหารข้อมูล  งานประสานสาธารณูปโภค  งานประสานกิจการประปา  งานไฟฟ้าสาธารณะ  งานระบายน้ำ  และงานอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

                อำนาจหน้าที่ของส่วนการศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม  ได้แก่

                ทำหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารการศึกษาและพัฒนาการศึกษา  ทั้งการศึกษาในระบบการศึกษา  การศึกษานอกระบบการศึกษาและการศึกษาตามอัธยาศัย  เช่น  การจัดการศึกษาปฐมวัย  อนุบาลศึกษา  โดยให้มีงานธุรการ  งานการเจ้าหน้าที่  งานกิจการศาสนา  ส่งเสริมประเพณี  ศิลปวัฒนธรรม  งานกีฬาและนันทนาการ  งานกิจกรรมเด็กและเยาวชน  และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรืองานที่ได้รับมอบหมาย

                อำนาจหน้าที่ของส่วนสวัสดิการสังคม  ได้แก่

                ทำหน้าที่ดูแลตรวจสอบควบคุมการรับจ่ายและกู้ยืมเงินของชุมชน  ประสานงานกับชุมชนและประชาคมหมู่บ้านเพื่อทราบความต้องการของชุมชน  งานสวัสดิการและพัฒนาสังคม  ควบคุมดูแลและรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  และผู้ป่วยเอดส์  งานสังคมสงเคราะห์  ควบคุมดูแลประสานงานเกี่ยวกับด้านสาธารณสุขและสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  และผู้ด้อยโอกาส  งานส่งเสริมอาชีพและพัฒนาสตรี  ควบคุมดูแลและรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดโครงการส่งเสริมอาชีพเยาวชน และสตรีเพื่อเพิ่มพูนรายได้  และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรืองานที่ได้รับมอบหมาย

                อำนาจหน้าที่ของส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม  ได้แก่

                ทำหน้าที่เกี่ยวกับ  เกี่ยวกับการควบคุมโรค  การสุขาภิบาลอื่นๆ  ตามแผนการสาธารณสุขและข้อบังคับตำบล  การวางแผนการสาธารณสุข  การประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุข  งานเฝ้าระวังโรค  การเผยแพร่ฝึกอบรม  การให้สุขศึกษา  การจัดทำงบประมาณตามแผนงานสาธารณสุข  งานด้านสิ่งแวดล้อม  การให้บริการสาธารณสุข  การควบคุมการฆ่าสัตว์  จำหน่ายเนื้อสัตว์

การบริหารงานบุคคล

                บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  แบ่งออกเป็น  3  กลุ่ม  ดังนี้

 

                1. บุคลากรฝ่ายสภาองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  ประกอบด้วย

                                1) นายทองพูน            ภูนาเหลา           ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล

                                2) นางนพดารา           โยธาธรณ์           รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล

                                3) พ.จ.ท.บุญเกื้อ        เจริญสุข             เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล

                                4) สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน       จำนวนทั้งหมด  30  คน

 

                2. บุคลากรฝ่ายบริหาร  ประกอบด้วย        

                                1) นายประเสริฐ          ชูพันธ์                นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

                                2) นายประมูล             นิตยาสิทธิ์          รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล  คนที่  1

                                3) นายประสพโชค    ไชยศรี                รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล  คนที่  2

                                4) นายดำเนิน              ดีเจริญ                 เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

 

               3. ฝ่ายประจำ  ประกอบด้วย

                                1) ปลัด อบต.                                                           1         คน

                                2) รองปลัด อบต.                                                    1          คน

                                3) ตำแหน่งในส่วนสำนักงานปลัด   มีดังนี้

                                                - หัวหน้าสำนักงานปลัด                         1         คน

                                                - จนท.วิเคราะห์นโยบายและแผน          1        คน

                                                - จนท.บริหารงานทั่วไป                         1         คน

                                                - บุคลากร                                                -          คน

                                                - เจ้าหน้าที่ป้องกันฯ                                  -          คน

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ                             1         คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยนิติกร                                            1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยบุคลากร                                        1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ป้องกันฯ                          1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล                    1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน               1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์                   1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - พนักงานขับรถยนต์ส่วนกลาง                    1         คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - นักการภารโรง                                         1         คน (ลูกจ้างทั่วไป)

 

                                4) ตำแหน่งในกองคลัง   มีดังนี้ 

                                                - ผู้อำนวยการกองคลัง                           1         คน

                                                - นักวิชาการพัสดุ                                   1         คน

                                                - เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี               -         คน

                                                - นักวิชาการเงินและบัญชี                      1         คน (ลูกจ้างประจำ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ                            1         คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้               1         คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ                          1         คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                5) ตำแหน่งในกองช่าง   มีดังนี้  

                                                - ผู้อำนวยการกองช่าง                           1          คน

                                                - นายช่างโยธา                                         -          คน

                                                - ผู้ช่วยนายช่างโยธา                              1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยช่างไฟฟ้า                                   1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยช่างเครื่องยนต์                           1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ                         1         คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - พนักงานจ้างทั่วไป                              1          คน (ลูกจ้างทั่วไป)

                                6) ตำแหน่งในส่วนการศึกษา  ศาสนา  และวัฒนธรรม   มีดังนี้

                                                - นักวิชาการศึกษา                                  1          คน

                                                - ครูผู้ดูแลเด็ก                                        3          คน

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ                            1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - ผู้ดูแลเด็ก                                             1          คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - พนักงานจ้างทั่วไป                                  2          คน (ลูกจ้างทั่วไป)

                                7) ตำแหน่งในส่วนสวัสดิการสังคม   มีดังนี้

                                                - นักพัฒนาชุมชน                                   1          คน

                                                - เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน                         1          คน

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน                1          คน

                                8) ตำแหน่งในส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม   มีดังนี้

                                                - นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ                  1             คน

                                                - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ                         1             คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - พนักงานขับรถบรรทุกขยะ                   1             คน (ลูกจ้างตามภารกิจ)

                                                - คนงานประจำรถบรรทุกขยะ                3                 คน (ลูกจ้างทั่วไป)

                                               

                ตารางแสดงจำนวนพนักงานส่วนตำบล  ลูกจ้าง และพนักงานจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน

หน่วยงาน

พนักงาน        ส่วนตำบล

ลูกจ้างประจำ

พนักงานจ้าง    ตามภารกิจ

พนักงานจ้างทั่วไป

รวม

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

สำนักงานปลัด

3

2

-

-

3

5

-

1

14

กองคลัง

-

2

-

1

-

3

-

-

6

กองช่าง

1

-

-

-

3

1

1

-

6

ส่วนการศึกษาฯ

-

4

-

-

-

2

1

1

8

ส่วนสวัสดิการฯ

1

1

-

-

1

-

-

-

3

ส่วนสาธารณสุขฯ

1

-

-

-

1

1

3

-

6

รวม

6

9

-

1

8

12

5

2

43

 

2.2.2   ด้านงบประมาณ 

                งบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วย งบประมาณรายจ่ายประจำปี หรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้จัดทำเป็นข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล และจะเสนอแต่โดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ตามระเบียบและวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด

                องค์การบริหารส่วนตำบล  อาจมีรายได้  ดังต่อไปนี้

                                1. รายได้จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล

                                2. รายได้จากสาธารณูปโภคขององค์การบริหารส่วนตำบล

                                3. รายได้จากกิจการเกี่ยวกับพาณิชย์ขององค์การบริหารสวนตำบล

                                4. ค่าธรรมเนียม  ใบอนุญาต  และค่าปรับ  ตามที่กฎหมายกำหนด

                                5. เงินและทรัพย์สินอื่นที่มีผู้อุทิศให้

                                6. เงินรายได้อื่นตามที่รัฐบาลหรือหน่วยงานอื่นจัดสรรให้

                                7. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล

                                8. รายได้ตามที่จะมีกฎหมายกำหนดให้เป็นขององค์การบริหารส่วนตำบล

                องค์การบริหารส่วนตำบล  อาจมีรายจ่าย  ดังต่อไปนี้

                                1. เงินเดือน

                                2. ค่าจ้าง

                                3. เงินค่าตอบแทนอื่นๆ

                                4. ค่าใช้สอย

                                5. ค่าวัสดุ

                                6. ค่าครุภัณฑ์      

                                7. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สินอื่นๆ

                                8. ค่าสาธารณูปโภค

                                9. เงินอุดหนุนหน่วยงานอื่น

                                10. รายจ่ายอื่นตามข้อผูกพัน หรือตามที่มีกฎหมายหรือระเบียบกระทรวงมหาดไทยกำหนด

 

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ..2542  หมวด 4  มาตรา 30(4)  กำหนดการจัดสรรภาษีและอากร  เงินอุดหนุนและรายได้อื่นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  เพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินการตามอำนาจและหน้าที่ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน  พ..2549  ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้เพิ่มขึ้นคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 

รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงิน  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556  จากองค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงินจัดเก็บเอง  ส่วนราชการอื่นจัดเก็บให้  เงินอุดหนุนจากรัฐบาลที่อุดหนุนให้  และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ   รวมทั้งสิ้น   40,960,926.58.-   บาท    ดังรายละเอียดต่อไปนี้

  1. องค์การบริหารส่วนตำบลดอนเงินจัดเก็บเอง       จำนวน   63,830.87   บาท                 แยกได้ดังนี้

                                1.1  ภาษีบำรุงท้องที่                                                                            43,085.87        บาท

                                1.2  ภาษีโรงเรือนและที่ดิน                                                                  18,595.00         บาท

                                1.3  ภาษีป้าย                                                                                           1,880.00       บาท

                                1.4  อากรการฆ่าสัตว์                                                                                   270.00       บาท

                                1.5  อากรรังนกนางแอ่น                                                                                      -         บาท

                2. ส่วนราชการต่างๆ จัดเก็บให้                                        จำนวน   12,278,308.53   บาท          แยกได้ดังนี้

                                2.1  ภาษีรถยนต์และล้อเลื่อน                                                                                -        บาท

                                2.2  ภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมายท้องถิ่น (1 ใน 9)                                 2,554,523.24      บาท

                                2.3  ภาษีมูลค่าเพิ่มตาม พ.ร.บ.กำหนดแผนฯ                                        8,951,905.70      บาท

                                2.4  ภาษีธุรกิจเฉพาะ                                                                                                -      บาท

                                2.5  ภาษีสุรา                                                                                       1,225,167.66      บาท

                                2.6  ภาษีสรรพสามิต                                                                           2,678,532.82       บาท

                                2.7  ค่าภาคหลวงแร่                                                                               35,126.00        บาท

                                2.8  ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม                                                                     110,271.11      บาท

2.9  ค่าธรรมเนียมสิทธิและนิติกรรมที่ดิน                                                      722,782.00      บาท

2.10  ภาษีจัดสรรอื่นๆ                                                                                                      -    บาท

                3. รายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าปรับ      จำนวน   208,666.00   บาท  แยกได้ดังนี้

3.1  ค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับใบอนุญาตการขายสุรา                               1,261.00                    บาท

3.2  ค่าธรรมเนียมเก็บและขนขยะมูลฝอย                                      202,425.00                    บาท

3.3  ค่าใบอนุญาตรับทำการเก็บและขนสิ่งปฏิกูล                                2,500.00                    บาท

3.4  ค่าใบอนุญาตจำหน่ายในที่สาธารณะ                                               200.00                    บาท

3.5  ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนพาณิชย์                                           1,280.00                    บาท

3.6  ค่าใบอนุญาตการโฆษณาโดยใช้เครื่องขยายเสียง                            700.00                    บาท

3.7  ค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการที่เป็นอันตราย                                          -                   บาท

3.8  ค่าปรับผิดสัญญา                                                                                      -                    บาท

3.9  ค่าใบอนุญาตอื่นๆ                                                                              300.00                 บาท

                4. รายได้จากทรัพย์สิน                                                       จำนวน   82,108.25   บาท                  แยกได้ดังนี้

                                4.1  ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร                                                                82,108.25     บาท

                5. รายได้เบ็ดเตล็ด                                                              จำนวน  68,800.00   บาท                  แยกได้ดังนี้

                                5.1  ค่าขายแบบแปลน                                                                                        35,500.00                     บาท

                                5.2  รายได้เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ                                                                    31,300.00                     บาท

                6. รายได้จากเงินอุดหนุนของรัฐบาล                             จำนวน   9,233,319.00   บาท           แยกได้ดังนี้

                                6.1  เงินอุดหนุนทั่วไป                                                                     9,233,319.00      บาท

                7.  เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ                                                   จำนวน   15,027,893.93   บาท         แยกได้ดังนี้

                                7.1  เงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ - เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ            7,138,800.00      บาท

                                7.2  เงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ - เบี้ยยังชีพผู้พิการ                 996,000.00      บาท

                                7.3  เงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ - ครอบครัวอบอุ่น                                  -       บาท

                                7.4  เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ(ยาเสพติด)                                    1,799,864.49     บาท

7.5  เงินอุดหนุนเฉพาะกิจกรณีเร่งด่วน                                       3,966,579.44    บาท

                                7.6  เงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ด้านการศึกษา                       1,126,650.00    บาท 

                                                                                         

และคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ..2542  นอกจากนั้นจะมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมขององค์กรปกครองส่วนตำบลดอนเงิน  ซึ่งได้จากข้อมูลแผนที่ภาษี  ทำให้ทราบข้อมูลพื้นที่แน่นอนของตำบล และรายการประกอบกิจกรรมต่างๆ  ของประชาชนภายในตำบล  จึงสามารถจัดเก็บภาษีได้มากยิ่งขึ้น    

Submit to FacebookSubmit to Google PlusSubmit to TwitterShare with friendsPrint this page